ผลงานวิชาการ

บทความวิชาการระดับนานาชาติ

1. Yutthana Phimthong-Ngam, Trakool Rummachat and Rangsan Jomtarak. (2018). Thick Film Solid-State Molecular Sensor for Acetylene Detection Based on nn Heterojunction Semiconductor of Nanocrystalline Tungsten Oxide-Tin Oxide Compound. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science.  Vol. 11(1) pp 1-27

2. Yutthana Phimthong-Ngam, Kannakorn Intharakham and Kesorn Suwanprasert. (2016). Evaluation of Nitric Oxide in Lacunar Stroke and Young Healthy during Cerebrovascular Reactivity by Support Vector Machine. International Journal of Computer Applications. Vol. 146 (9) pp 28-35

3. Yutthana Phimthong-ngam, Kesorn Suwanprasert and Kannakorn Intharakham. (2015). Novel hybrid kernel function exploring hydrogen peroxide (H2O2) in lacunar stroke during cerebrovascular reactivity (CVR). The Journal of Physiological Sciences. (Springer. Conference Proceedings) pp.S-A72

4. Yutthana Phimthong-ngam, Rangsan Jomtaraka and Kesorn Suwanprasert. (2015). A Novel Kernel Method for Evaluation of Hydrogen Peroxide (H2O2) in Cardiovascular Disease Based on SVMs Classification. 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference. pp 135

5. Rangsan Jomtaraka, Yutthana Phimthong-ngam and Kesorn Suwanprasert. (2015). The Comparison of Single Classifier Functions for Health Risk Assessment of Cardiovascular Disease. 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference. pp 136

6. Yoottana Pimtongngam, Kannakorn Intharakham and Kesorn Suwanprasert. (2013). Classification of nitric oxide assessed by hybrid kernel function in lacunar stroke. The 6th Biomedical Engineering International Conference, Oct 23-25, 2013 at Kabi, Thailand (IEEE Conference Proceedings); DOI: 10.1109/BMEiCon.2013.6687690

7. Yootana Pimtong-Ngam, Sirithan Jiemsirilers and Sitthisuntorn Supothina. (2007). Preparation of tungsten oxide–tin oxide nanocomposites and their ethylene sensing characteristics. Sensors and Actuators A: Physical. Vol. 139 (1-2) pp 7-11

8. Photphisuthiphong, Y., & Vatanyoopaisan, S. (2020). The production of bacterial cellulose from organic low-grade rice. Current Research in Nutrition and Food Science Journal. 8(1), pp. 206-216

9. Onvimol, N., Rungruang R., Modsuwan S., & Panichakul, T. (2022). Antimicrobial effect of deodorant products containing Rhinacanthus nasutus extract for reducing armpit odor. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science. 15(1), pp. 12-17.

10. Onvimol, N., Onvimala, N. & Boohuad, N. (2021). Evaluation of antimicrobial activity of Rhinacanthus nasutus (L.) and Acanthus ilicifolius (L.) extracts. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science. 14(3), pp.52-59.

11. Onvimol, N., Chankate, P., Mahakhunkijcharoen, Y., & Kalambaheti, T. (2020). Antibiotic resistance profile and association with integron type I among Salmonella Enterica isolates in Thailand.  Journal of Pure and Applied Microbiology, 14(4), pp. 2383-2397. https://doi.org/10.22207/JPAM.14.4.16

12. Lomthong, T., Samaimai, S., Yoksan, R., Krajangsang, S., & Kitpreechavanich, V. (2022). High loading degradation of poly(lactide)/thermoplastic starch blend film using mixed‑enzymes produced by fed‑batch culture of Laceyella sacchari LP175. Waste and Biomass Valorization. 13, pp. 1981-1991.

13. Krajangsang, S., Dechsresawut, N. Lomthong, T., & Samaimai, S. * (2021). Production of poly (L-lactide)-degrading enzyme by Actinomadura keratinilytica strain T16-1 under solid state fermentation using agricultural wastes as substrate. 3 Biotech. 11(512), pp. 1-11. https://doi.org/10.1007/s.13205-021-03060-8

14. Samaimai, S., Krajangsang, S., Kitpreechavanich, V., Borthong, J.,  & Lomthong. T. (2021). Degradation of poly (butylene succinate) and poly (butylene succinate) / poly (lactide) blends using serine protease from Laceyella sacchari LP 175. Trends in Sciences. 18(20),     pp. 1-9. https://doi.org/10.48048/tis.2021.37

15. Piyaphanuwata, R., Samaimai, S., & Limkhuansuwan, V. (2021). Effects of nutrient supplement and chitosan on microbial population change in up-flow-anaerobic-sludge-blanket reactor during biogas production. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science. 14(2), pp. 1-11.

16. Siriporn Chimphlee and Witcha Chimphlee. (2023). Machine Learning to Improve the Performance of Anomaly-based Network Intrusion Detection in Big Data. Indonesian Journal of Electrical Engineering and Computer Science (IJEECS), 30(2), pp. 1106-1119.

17. Witcha Chimphlee and Siriporn Chimphlee. (2023). Intrusion Detection System (IDS) Development using tree-based machine learning algorithms. International Journal of Computer Networks & Communications (IJCNC), 15(4), pp. 93-109.

18. Witcha Chimphlee & Siriporn Chimphlee. (2022). Network Intrusion Detector using Multilayer Perceptron (MLP) Approach. Turkish Journal of Computer and Mathematics Education, Vol.13 (03), pp. 488-499.

 

บทความวิชาการระดับชาติ

1. ชาติ ทีฆะ, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และวิชชา ฉินพลี. (2564). การทดสอบประสิทธิภาพเซนเซอร์บารอมิเตอร์บนสมาร์โฟนสำหรับการวัดค่าความดันของของเหลว. วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี.  ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 49-62

2. งามลักษณ์ สมันพงษ์, เบ็ญญา บุญพิทักษ์, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และ ชาติ ทีฆะ. (2564). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่องการหาค่ากำลังไฟฟ้าของหลอดไฟโดยใช้เซนเซอร์แสงบนสมาร์ตโฟน. งานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 15 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 117 ปี (หน้า 124–131). วันที่ 17 ธันวาคม 2564. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

3. นินรยา วงษ์คำอุด, ฟาตอนะห์ มามะ, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และ ชาติ ทีฆะ. (2564). การพัฒนาชุดทดลองฟิสิกส์ เรื่อง การดลและโมเมนตัม โดยใช้สมาร์ตโฟนเป็นเครื่องมือวัด. งานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 15 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 117 ปี (หน้า 1778–187). วันที่ 17 ธันวาคม 2564. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

4. พรทิพา จานดี, จตุรพร เพียสุระ, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และ ชาติ ทีฆะ. (2564). การวัด ค่า สนามแม่เหล็กแบบ 2 และ 4 ขั้ว ของ แท่งแม่เหล็กถาวร ด้วยเซนเซอร แม่เหล็กบน สมาร์ตโฟน. งานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 15 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 117 ปี (หน้า 115–123). วันที่ 17 ธันวาคม 2564. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

5. ยุวธิดา สมโศก, ทิพย์ธัญญา ไชยชมภ, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และ ชาติ ทีฆะ. (2564). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเซนเซอร์วัดความดันและแอปพลิเคชันในสมาร์ตโฟนสำหรับการวัดความดันของของไหลที่ขึ้นกับความลึก. งานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 15 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 117 ปี (หน้า 196–204). วันที่ 17 ธันวาคม 2564. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

6. ศุภกร ม่วงอยู่, พรธิภา ผสมทรัพย์, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และ ชาติ ทีฆะ. (2564). การพัฒนาชุดทดลองฟิสิกส์ เรื่อง อัตราเร็วและความถี่การกำทอนเสียงในท่อปลายเปิดและปิดโดยใช้สมาร์ตโฟนเป็นเครื่องมือวัดอย่างง่าย. งานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 15 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 117 ปี (หน้า 107–114). วันที่ 17 ธันวาคม 2564. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

7. ทิพวรรณ ศรีสาคร, อุบลวรรณ พันธ์สว่าง, สุทัศน์ จันบัวลา, ยุทธนา พิมพ์ทองงาม และ ชาติ ทีฆะ. (2564). การประยุกต์ใช้สมาร์ตโฟนเป็นเครื่องมือวัดในการทดลองฟิสิกส์ เรื่อง แรงเสียดทาน. งานประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 15 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ครบ 117 ปี (หน้า 205–214). วันที่ 17 ธันวาคม 2564. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

8. นิธิศ คุ้มเดช, วราภรณ์ ช้างเขียว และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า ร่วมกับการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น. การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 10 : “วิจัยและนวัตกรรม นำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”. วันที่ 25 – 26 ธันวาคม 2562. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

9. ภิฆเมศ เปาอินทร์ และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การอออกแบบและพัฒนาชุดทดลองเรื่องสภาพต้านทานไฟฟ้าโดยใช้รูปแบบการสอนแบบบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฎิสัมพันธ์. การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 10 : “วิจัยและนวัตกรรม นำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” (หน้า H-491–H-500). วันที่ 25 – 26 ธันวาคม 2562. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

10. พณิชญา จันทร์ลา,  กฤติยา ศรีสมุทร  และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การสร้างชุดสาธิตการทดลองเรื่องสมดุลสถิตและโมเมนต์ของแรงร่วมกับการสอนแบบบรรยายสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์. การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 10 : “วิจัยและนวัตกรรม นำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” (หน้า H-501–H-509). วันที่ 25 – 26 ธันวาคม 2562. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

11. ปริญดา เปี่ยมปฐม, ปฐมาภรณ์ จันทรภักดี  และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การพัฒนาสื่อการสอนวงจรไฟฟ้ากระแสตรงร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบทำนาย – สังเกต – อธิบาย (POE). การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 “ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย”. วันที่ 14 มิถุนายน 2562. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

12. วรพจน์  จันทร์สุวรรณ, อรณิชา  ดวงสุวรรณ์  และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การออกแบบและพัฒนาชุดทดลอง ความเข้มของการส่องสว่าง ร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบทำนาย – สังเกต – อธิบาย. การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 “ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย”. วันที่ 14 มิถุนายน 2562. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

13. วรรณภัทร หวง, รัชดาภรณ์ เหลื้อมแก้ว  และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การสร้างชุดสาธิตการทดลอง เรื่อง โมเมนตัมและการชนแบบยืดหยุ่นใน 1 มิติ ร่วมกับการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น. การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 “ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย”. วันที่ 14 มิถุนายน 2562. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

14. ปิยธัช มุติมรรคา, อารีรัตน์ พรไพรสณฑ์  และ ยุทธนา พิมพ์ทองงาม. (2560). การออกแบบและสร้างชุดสาธิตวงจรวีทสโตนบริดจ์ เพื่อหาค่าความต้านทานของเส้นลวดนิโครม ร่วมกับการสอนแบบสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์. การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 “ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย”. วันที่ 14 มิถุนายน 2562. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

15. ยุทธนา พิมพ์ทองงาม, เด่นพงศ์ ฉัตรสุวรรณ และ สุเมธ ทิพยไกรศร (2548). เซนเซอร์มัลติฟังก์ชันแบบอัตโนมัติและเครื่องมือเชื่อมต่อไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ราชภัฏสวนดุสิต ปีที่ 1 ฉบับที่ 1/2548 หน้า 60-63

16. ปิยาภรณ์ วรานุสันติกูล, เจษฎา แพนาค และโชติวุฒิ เก้ายอดสิงห์. (2565). การศึกษาการเจริญเติบโต การดูดซับ และการสะสมโลหะหนักของทานตะวัน (Helianthus annuus L.) ที่ปลูกด้วยสารละลายที่มีแคดเมียมและสังกะสีร่วมกัน. วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี. 3(2), หน้า 48-62.

17. จามรี กลางคาร และศิริพร ฉิมพลี. (2563). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Information Technology Systems for Internal Quality Assurance Management Faculty of Science and Technology, Suan Dusit University). การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11 “วิจัยและนวัตกรรมวิถีใหม่” วันที่ 17-18 กันยายน 2563. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.         หน้า H734-H742.

18. ณรงค์ฤทธิ์ ภิรมย์นก, ศิริพร ฉิมพลี, วิชชา ฉิมพลี, วัชรากรณ์ เนตรหาญ และศิริลักษณ์ หล่อพันธ์มณี. (2563). การพัฒนาตัวแบบการพยากรณ์ผลผลิตข้าวด้วยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล (The Development of Prediction Model for Rice Yield Using Data mining Techniques). การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11 “วิจัยและนวัตกรรมวิถีใหม่” วันที่ 17-18 กันยายน 2563. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. หน้า F-591-F-599.

 

โครงการวิจัย

1. การพัฒนาชุดสื่อการเรียนรู้ เรื่อง คลื่นเสียงและแสง โดยใช้ Smartphone sensors, Arduino, Micro-bit และ KidBright เป็นเครื่องมือวัดตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมสำหรับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566 )

2. การขับเคลื่อนนวัตกรรมการแบ่งระดับชั้นความเสี่ยงต่ออาการเอเทรียลฟิบริลเลชันและระบบซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนสำหรับประเมินความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุในเขตภาคเหนือตอนล่าง (ยุคสังคมผู้สูงอายุ) : การส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสริมสร้างและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรค (กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) : งบประมาณด้านวิจัยและนวัตกรรม ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2565)

3. การพัฒนาชุดสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยใช้เทคโนโลยีสมาร์ตโฟนเซนเซอร์เป็นเครื่องมือวัดสำหรับการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานสมรรถนะ  (กองทุน ววน.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564)

4. การพัฒนายางธรรมชาติดัดแปร เพื่อผลิตนวัตกรรมหมอนป้องกันการแหวะนมและ หมอนป้องกันกรดไหลย้อน ที่สามารถทำความสะอาดตัวเองและยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค (กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) : งบประมาณปกติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563)

5. ขั้นตอนวิธีการแบ่งระดับชั้นความเสี่ยงต่ออาการเอเทรียลฟิบริลเลชันและระบบอนุมานฟัซซีบนฐานโครงข่ายประสาทเทียมแบบปรับตัวได้สำหรับเฝ้าระว้งโรคหัวใจและหลอดเลือดในเขตภาคเหนือตอนล่าง (ยุคสังคมผู้สูงอายุ) : การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, ระบบสมองกลฝังตัวและซูเปอร์ไวซ์แมชชีนเลิร์นนิงสำหรับระบบวินิจฉัยโรคภาคสนาม (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2561 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม))

6. การประยุกต์ใช้วิทยาการไบโออินฟอร์เมติกส์และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและลดอัตราเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดหลอดเลือดของประชาชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

7. การพัฒนาไฮบริดเคอร์เนลฟังก์ชันและแบบจำลองไม่เชิงเส้นเพื่อตรวจจับภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายเต้นผิดปกติ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

8. ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนสำหรับประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของประชาชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

9. การพัฒนาไบโอเซนเซอร์แบบแถวลำดับด้วยระบบสมองกลฝังตัวสำหรับตรวจวัดสารบ่งชี้ทางชีวภาพของโรคหัวใจและหลอดเลือด (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

10. การพัฒนาแบบจำลองมาร์คอร์ฟซ่อนเร้นและมัลติเลเยอร์เปอร์เซ็ปตรอนเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

11. วิทยาการ ไบโออินฟอร์เมติกส์และการรู้จำรูปแบบสำหรับเฝ้าระวังโรคหัวใจและหลอดเลือดในเขตภาคเหนือตอนล่าง(ยุคสังคมผู้สูงอายุ) :การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน, มัลติเลเยอร์เปอร์เซ็ปตรอนและนิวโร-ฟัซซีสำหรับระบบวินิจฉัยโรคภาคสนาม (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

12. การประยุกต์ใช้วิธีนิวโร-ฟัซซีและการแปลงเวฟเล็ตแพ็คเก็ตเพื่อวิเคราะห์การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสัมพันธ์กับภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดปกติ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

13. การจำแนกและวิเคราะห์ความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจในโดเมนเวลา-ความถี่ด้วยเทคโนโลยีการรู้จำรูปแบบและการประมวลผลสัญญาณเชิงเลขเพื่อทำนายภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2558)

14. การพัฒนาเซนเซอร์ทางการแพทย์สำหรับตรวจวัดสารบ่งชี้ทางชีวภาพของโรคอุบัติใหม่และโรคหัวใจและหลอดเลือดของประชาชนในเขตภาคอีสานตอนบน (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2557)

15. ต้นแบบนวัตกรรมแบบองค์รวมเพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคอุบัติใหม่และโรคหัวใจและหลอดเลือดในเขตภาคอีสานตอนบน(ยุคสังคมผู้สูงอายุ) : การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, อัลกอริทึมเชิงพันธุกรรม, การแปลงเว็ฟเล็ตและซินเนอร์จิสติกนิวรอลเน็ตเวิร์คสำหรับระบบวินิจฉัยโรคภาคสนาม (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2557)

16. การพัฒนาแบบจำลองทางสรีรวิทยาแบบไม่เชิงเส้นและระบบไฮบริดสำหรับระบบวัดสัญญาณไฟฟ้าหัวใจความละเอียดสูงเพื่อตรวจจับภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายเต้นผิดปกติของประชาชนในเขตภาคอีสานตอนบน (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2557)

17. การบูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่และโรคหัวใจและหลอดเลือดในเขตภาคเหนือตอนล่าง(ยุคสังคมผู้สูงอายุ): การพัฒนาโครงข่ายประสาทเทียม, นาโนไบโอเซนเซอร์ความไวสูง, ไฮบริดอัลกอรึทึมและการประมวลผลสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบสองโดเมนสำหรับระบบวินิจฉัยโรคภาคสนามระยะที่ 3 (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2556)

18. การพัฒนาระเบียบวิธีเชิงตัวเลขแบบสี่มิติและไฮบริดอัลกอริทึมสำหรับระบบวัดสัญญาณไฟฟ้าหัวใจความละเอียดสูงเพื่อตรวจจับภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายเต้นผิดปกติ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2556)

19. การออกแบบและพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาในเขตจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2556)

20. โครงข่ายประสาทเทียมสำหรับประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพต่อโรคอุบัติใหม่และโรคหัวใจและหลอดเลือดของประชาชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2556)

21. ภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังโรคหัวใจและหลอดเลือดในเขตภาคเหนือตอนล่าง(ยุคสังคมผู้สูงอายุ)การพัฒนานาโนไบโอเซนเซอร์,ไฮบริดอัลกอริทึมและการประมวลสัญญาณเสียงหัวใจสำหรับระบบวินิจฉัยโรคภาคสนามระยะที่ 2 (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2555)

22. การพัฒนาอัลกอริทึมแบบผสมและแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับระบบวัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจความละเอียดสูงเพื่อตรวจจับภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายเต้นผิดปกติ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2555)

23. พัฒนาเทคนิคการสังเคราะห์อนุภาคนาโนซิงค์ซันไฟล์เพื่อประยุกต์ใช้ในเชิงอุตสาหกรรมเพื่อการพาณิชย์ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2555)

24. การออกแบบและพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์อิฐดินเผาในเขตพื้นที่จังหวัดภาคกลางตอนบน (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2553)

25. การปรับปรุงปริมาณฟอสฟอรัสในกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย และสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อผลิตปุ๋ยสูตรเร่งดอก (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2552)

26. การออกแบบและพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาดให้กับสินค้าเซรามิกส์ในเขตพื้นที่จังหวัดภาคกลางตอนบน (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2552)

27. การปรับปรุงปริมาณฟอสฟอรัสในกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย และสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อผลิตปุ๋ยสูตรเร่งดอก (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2551)

28. การพัฒนาโครงข่ายระบบประสาทจำลองสำหรับอุปกรณ์รับรู้แก๊ส แบบสารกึ่งตัวนำที่มีโครงสร้างระดับนาโนของสารทินออกไซด์ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2551)

29. การศึกษาปริมาณและแนวทางการลดการใช้สารฟอร์มัลดีไฮด์ ในเฟอร์นิเจอร์ประเภทไม้อัด (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2550)

30. สารโลหะหนักที่ปนเปื้อนใน น้ำ พืช และ สัตว์น้ำใน พื้นที่จังหวัดนนทบุรี (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2550)

31. การพัฒนาอุปกรณ์รับรู้แก๊สเอทิลีนจากสารเชิงประกอบระดับนาโนทังสเตนออกไซด์-ทินออกไซด์ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี 2550)

32. ผลของโครงสร้างระดับนาโนและสารโด๊ปที่มีต่อกลไกการตรวจวัดแก๊สเอทิลีนในหัววัดแก๊สแบบสารกึ่งตัวนำทินออกไซด์ (ทุนมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2549)